เลฟเวอเรจเป็นอัตราส่วนระหว่างจำนวนมาร์จิ้นและเงินที่กู้ยืมมาเพื่อจัดสรรตาม 1:100, 1:200, 1:500 เลฟเวอร์เรจ 1:100 คือเทรดเดอร์จำเป็นต้องมีเงินเป็นจำนวนเงินในบัญชีซื้อขายที่ต้องน้อยกว่าจำนวนรวมที่ได้ทำธุรกรรมไป 100เท่า
อัตราส่วนที่ยืมนั้นเรียกว่าเลฟเวอเรจ มูลค่ามันมีมากมายจากตั้งแต่ 1:1 จนถึง 1:500 มันคือการที่ลูกค้าสามารถซื้อหรือขายสกุลเงินได้ในจำนวนมที่มากกว่ามาร์จิ้นถึง 500เท่า ตัวอย่างเช่นหากเทรดเดอร์เลือกเรฟเวอเรจ1:100และทำการเติมเงินไป $100 จากนั้นเขาก็จะมีโอกาสในการซื้อสกุลเงินได้ถึง 100*100=$10,000 หลังจากซื้อสกุลเงินตามอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ เทรดเดอร์ก็จะกำหนดการขาย จากนั้นได้รับผลกำไรจากอัตราการผันผวนของสกุลเงิน กล่าวอีกนัยหนึ่งเทรดเดอร์ได้ทำธุรกรรม ในขณะที่ปิดการเทรด ก็จะได้รับเงินมาจากการปิดโดยทันที มาร์จิ้นยังคงอยู่ในบัญชีของเทรดเดอร์รวมทั้งผลกำไรที่ได้รับมา แนวทางนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้เทรดเดอร์มีผลกำไรเพิ่มขึ้น บางทีอาจมากกว่าจำนวนมาร์จิ้นที่อยู่ในการทำธุรกรรมแม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยในอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ ความเสี่ยงของเทรดเดอร์จำกัดอยู่แค่ในจำนวนของมาร์จิ้นที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกรรม แต่รับประกันเฉพาะการเติมส่วนขาดทุนหรือผลกำไรแบบเต็มจำนวนจากการปิดดีล การปิดธุรกรรมเป็นการดำเนินการแบบตรงกันข้าม เมื่อทำการซื้อสกุลเงินนั้นๆ การขายจะเกิดขึ้นในปริมาณเดียวกัน
คำนิยามของเลฟเวอเรจเกี่ยวข้องกับมาร์จิ้นอย่างใกล้ชิด แต่พอลองดูให้ละเอียดแล้วมีความแตกต่างของสองนิยามนี้ แต่เพื่อความปลอดภัยมันจะได้ผลเดียวกัน ยิ่งเลฟเวอเรจใหญ่ขึ้น จำนวนอัตราส่วนเงินทุนและธุรกรรมที่ใช้เพื่อทำกำไรจะยิ่งมากขึ้น แล้วมันจะส่งผลต่อการซื้อขายอย่างไร ขอเริ่มต้นด้วยข้อมูลของมาร์จิ้น
แต่แรกหลักการเทรดด้วยมาร์จิ้นเกี่ยวข้องกับธุรกรรมในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ ในศตวรรษที่ 19 ตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าโภคภัณฑ์เป็นตลาดที่มีการเทรดเกิดขึ้นด้วยการใช้เงินสด โบรกเกอร์ที่ให้บริการดำเนินการธุรกรรม ได้โอนเงินและการจัดการบัญชี ก็เป็นดีลเลอร์ในตลาดอีกด้วย โบรกเกอร์ยังใช้บัญชีโดยมีวิธีการพิเศษของการลงข้อมูลที่เรียกว่า “วัฎจักร” วิธีการนี้ได้ลอย่างมากสำหรับการจัดการบัญชีระหว่างลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพในการขายสินค้าอีกครั้งบ่อยขึ้น วิธีการหมุนเวียนเช่นนี้ได้นำไปปรับใช้กับตลาดฟิวเจอร์สนับตั้งแต่ปี 1920 ต่อมาภายหลังหากมันตรงกับความต้องการ ภายใต้กระบวนการนี้เองสมาชิกในตลาดแลกเปลี่ยนที่กำลังใช้ดีลเพื่อใช้ตามความต้องการของตนเองทั้งหมดตามที่กำหนดขึ้นตามสัญญาในฐานะผู้ร่วมในข้อตกลงเขาเป็นกลุ่มเดียวที่จะมีส่วนรับมือชอบต่อการดำเนินการตามกำหนดของดีล เนื่องจากระบบการชำระหนี้เช่นนี้ ลูกค้าไม่จำเป็นต้องฝากเงินทุนของจนเพื่อเป็นเครื่องรับประกันทางการเงินเพื่อการดำเนินการด้วยสัญญาแลกเปลี่ยน และสามารถเพลิดเพลินไปกับการเทรดในราคาขั้นต่ำ วิธีการชำระหนี้ก่อนหน้านี้มีประโยชน์อย่างมากเมื่อธุรกรรมอย่างมากจัดทำขึ้นเพื่อด้านพาณิชย์เพียงอย่างเดียว ตัวอย่างเช่นการซื้อและขายสัญญาแสดงถึงอุปสงค์ต่อสินค้าในตัวมันเองอย่างแท้จริง สมาชิกในตลาดแลกเปลี่ยนต้องมีสินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆเพื่อรับประกันการดำเนินการตามความต้องการภายใต้เงื่อนไขอื่นๆ